จีนศึกษา (วันจันทร์ที่ ๑๓ ก.ค.๖๓) ขอนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกั บโฆษกกระทรวงการต่างประเทศจีน แถลงข่าวกรณี สถานการณ์โดยรวมในบริเวณเขตพื้ นที่ชายแดนจีน-อินเดีย เริ่มมีความผ่อนคลายลง ซึ่งมีประเด็นที่น่าสนใจดังนี้
๑. นายจ้าว ลี่เจียน (赵立坚 Zhao Lijian) โฆษกกระทรวงการต่างประเทศจีน (中国外交部发言人) ได้แถลงข่าวเมื่อวันที่ ๙ ก.ค.๖๓ ว่า
๑.๑ เมื่อเร็วๆ นี้ กองกำลังป้องกันชายแดนของทั้งจี นและอินเดียได้ยุติการเผชิญหน้ าที่บริเวณหุบเขากัลวานและพื้ นที่อื่น ๆ ในเขตชายแดนทางทิศตะวันตกระหว่ างจีน-อินเดีย ตามความเห็นพ้องจากการเจรจาระดั บผู้บัญชาการกองทัพระหว่างจีน- อินเดีย
๑.๒ ทั้งสองฝ่ายจะรักษาให้มี การแลกเปลี่ยนและพูดคุ ยเจรจาทางทหารและการทูต รวมถึงจัดการเจรจาระดับผู้บั ญชาการกองทัพรอบใหม่ อีกทั้งยังจัดประชุมกลไกปฏิบัติ งานเพื่อหารือและประสานงานเกี่ ยวกับกิจการชายแดน จึงหวังว่า ทั้งสองฝ่ายจะหันหน้าเข้าหากัน และใช้ปฏิบัติการที่เป็นรู ปธรรมตามความเห็นพ้องทุ กประการระหว่างกันของสองฝ่าย รวมทั้งร่วมกันทำงานเพื่อค่อยๆ ลดความตึงเครียดในเขตชายแดนต่ อไป
๒. ปัจจัยที่ทำให้สถานการณ์ความขั ดแย้งระหว่างจีน-อินเดีย ผ่อนคลายลง
๒.๑ เมื่อค่ำวันที่ ๕ ก.ค.๖๓ นายหวัง อี้ มนตรีแห่งรัฐและรัฐมนตรีว่ าการกระทรวงการต่างประเทศจีน ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้แทนพิ เศษจีนในปัญหาพรมแดนจีน-อินเดีย ได้พูดคุยทางโทรศัพท์กับนาย Ajit Doval ที่ปรึกษาความมั่นคงแห่งชาติอิ นเดีย ซึ่งเป็นผู้แทนพิเศษอินเดียในปั ญหาพรมแดนจีน-อินเดีย โดยทั้งสองฝ่ายได้บรรลุความเห็ นพ้องกันทางบวกเกี่ยวกับการผ่ อนคลายสถานการณ์ในเขตชายแดน ขณะที่นายหวัง อี้ กล่าวเน้นย้ำว่า ปีนี้เป็นปีแห่งการสถาปนาความสั มพันธ์ทางการทูตระหว่างจีน-อิ นเดีย ครบรอบ ๗๐ ปี ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่ างสองประเทศเป็นสิ่งที่ได้มาไม่ ง่าย ดังนั้น การพัฒนาและฟื้นฟูความเจริญรุ่ งเรือง จึงเป็นภารกิจสำคัญอันดั บแรกของทั้งจีนและอินเดีย โดยทั้งสองประเทศมีผลประโยชน์ ทางยุทธศาสตร์ร่วมกั นระยะยาวในด้านนี้
๒.๒ ความคืบหน้าในการเจรจาระหว่างจี น-อินเดีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่ ผู้นำจีน-อินเดีย ได้พบปะกัน โดยเห็นร่วมกันในแนวทางการพั ฒนามิตรสัมพันธ์และความร่วมมื อว่า ทั้งสองฝ่ายจะต้องเคารพและปฏิบั ติตาม “ความเห็นพ้องกัน” เมื่อเดือนเมษายน ปี ๒๐๑๘ (พ.ศ.๒๕๖๑) และเดือนตุลาคม ปี ๒๐๑๙ (พ.ศ.๒๕๖๒) กล่าวคือ (๑) ทั้งสองฝ่ายจะจัดปั ญหาเขตชายแดนไว้ในตำแหน่งที่ เหมาะสมในความสัมพันธ์ระหว่ างสองประเทศ และไม่ให้ความขัดแย้งกลายเป็นข้ อพิพาท (๒) ทั้งสองฝ่ายย้ำว่า ต้องเคารพและปฏิบัติตามสนธิสั ญญาและข้อตกลงที่สองประเทศได้ ลงนามกันแล้ว โดยใช้ความพยายามร่วมกันเพื่อผ่ อนคลายสถานการณ์ในเขตชายแดน (๓) ทั้งสองฝ่ายเห็นด้วยที่จะเสริ มการแลกเปลี่ยนผ่านกลไกการประชุ มผู้แทนพิเศษ ปรับปรุงและเสริมสร้างการสร้ างมาตรการไว้เนื้อเชื่อใจกั นในเขตพื้นที่ชายแดน เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดเหตุ การณ์ที่ส่งผลกระทบต่อสันติ ภาพและความสงบในเขตชายแดนอีกครั้ ง และ (๔) ทั้งสองฝ่ายเห็นด้วยที่จะให้ กองกำลังในแนวหน้าของทั้ งสองประเทศยุติการเผชิญหน้ากั นโดยเร็ว
บทสรุป
๑.๑ เมื่อเร็วๆ นี้ กองกำลังป้องกันชายแดนของทั้งจี
๑.๒ ทั้งสองฝ่ายจะรักษาให้มี
๒. ปัจจัยที่ทำให้สถานการณ์ความขั
๒.๑ เมื่อค่ำวันที่ ๕ ก.ค.๖๓ นายหวัง อี้ มนตรีแห่งรัฐและรัฐมนตรีว่
๒.๒ ความคืบหน้าในการเจรจาระหว่างจี
บทสรุป
การที่จีน-อินเดียได้บรรลุข้ อตกลงดังกล่าวหลังมีการแลกเปลี่ ยนและหารือกันหลายครั้ง ซึ่งทั้งสองฝ่ายได้แลกเปลี่ ยนความคิดเห็นอย่ างตรงไปตรงมาและในระดับลึกซึ้ งเกี่ยวกับสถานการณ์เขตชายแดน โดยได้บรรลุความเห็นพ้องกั นในทางบวก ขณะที่จีนยังคงแสดงจุดยื นในการปกป้องอธิปไตยเหนือดินแดน พร้อมทั้งท่าทีที่มุ่งมั่นต่ อการรักษาสันติ ภาพและความสงบในพื้นที่ เขตชายแดนร่วมกับอินเดีย ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความตั้ งใจของทั้งสองฝ่ายที่จะแก้ไขข้ อขัดแย้งผ่านการพูดคุยเจรจากัน และการเจรจาระหว่างจีน-อินเดี ยครั้งนี้ ทำให้สถานการณ์ในเขตชายแดนระหว่ างสองประเทศผ่อนคลายลง อีกทั้งยังทำให้ทั้งสองฝ่ายมี กำลังใจมากขึ้นในการรักษาความสั มพันธ์อันดีระหว่างสองประเทศ ตลอดจนสันติภาพและเสถี ยรภาพของโลก ทั้งนี้ จีน-อินเดีย เป็นเพื่อนบ้านที่แยกขาดจากกั นไม่ได้ โดยทั้งสองประเทศต่างเป็นพลั งสำคัญในการขับเคลื่อนการเติ บโตของเศรษฐกิจโลก จึงมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างกว้ างขวางในการรักษาและส่งเสริ มระเบียบโลกบนพื้ นฐานกฎหมายระหว่างประเทศ
ประมวลโดย พลตรี ไชยสิทธิ์ ตันตยกุล
ประมวลโดย พลตรี ไชยสิทธิ์ ตันตยกุล
ข้อมูลจากเว็บไซต์